26 พ.ย. 2563
พอผิวเรามีสิ่งแปลกปลอมเข้ามาได้ยาก และรักษาความชุ่มชื้นไว้ได้ ปัญหาผิวต่างๆ ก็จะค่อยๆ ลดลงค่ะ ทั้งสิว ผิวแพ้ง่าย หรือผิวแห้ง ผิวมันจนเกินไป เรียกได้ว่า การมีผิวแข็งแรง เป็นการปรับให้ผิวสวยตั้งแต่รากฐานเลยค่ะ
26 พ.ย. 2563
เพราะผิวที่มีรอยรั่วหรือผิวที่อ่อนแอลง ทำให้สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ผิวเราได้ง่าย ลองนึกภาพตามนะคะว่า ถ้าผิวเรามีแบคทีเรียเข้าไปในผิวเราง่ายมากๆ อะไรจะเกิดขึ้น?
26 พ.ย. 2563
ทั่วไปแล้วเวลาพูดถึงผิวแข็งแรง ก็มักจะมีคนอธิบายไว้ว่า ผิวแข็งแรงคือ สภาพผิวที่มี Skin Barrier หรือเกราะป้องกันผิวที่แข็งแรง ไม่มีรอยรั่ว ส่งผลให้สิ่งสกปรก สิ่งแปลกปลอม หรือแบคทีเรียเข้าผิวได้ยาก ในขณะเดียวกันความชุ่มชื้น ของเหลวที่ในผิวก็จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นผิว ทำให้ผิวเรามีสุขภาพที่ดี
26 พ.ย. 2563
โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไร? คำว่าต้อเป็นคำทั่วไปหมายถึงตา ดังนั้นเมื่อบอกว่าเป็นโรคต้อ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นโรคต้อชนิดใด ที่พบบ่อยๆ และควรทราบ
26 พ.ย. 2563
โรคตาแห้งเป็นอีกหนึ่งภาวะที่คนปัจจุบันประสบเป็นจำนวนมาก มีสาเหตุหลักมาจากการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งส่งผลให้เกิดการระคายเคืองดวงตารวมไปถึงการเกิดโรคตาแห้งที่อาจส่งผลเสียได้มากกว่าที่คิด
26 พ.ย. 2563
ความดันของของเหลวภายในลูกตา มีหน่วยการวัดเป็นมิลลิเมตรปรอท เป็นค่าความดันที่เกิดจากสมดุลระหว่างการสร้างน้ำภายในลูกตาและการระบายน้ำในลูกตา จะรู้ได้อย่างไรว่าความดันลูกตาของเราปกติหรือไม่??
26 พ.ย. 2563
เป็นภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน ทำให้เส้นเลือดที่เรตินาหรือจอตาได้รับความเสียหายจากน้ำตาลอุดตันและเลือดไม่สามารถไหลเวียนได้ตามปกติ ในช่วงแรกอาจไม่พบอาการหรืออาจมองเห็นผิดปกติเพียงเล็กน้อย แต่หากมีอาการรุนแรง แล้วปล่อยไว้ไม่เข้ารับการรักษาอาจทำให้สูญเสียการมองเห็นได้ในที่สุด
26 พ.ย. 2563
เป็นจุดศูนย์กลางที่สำคัญที่สุดของจอประสาทตา เป็นส่วนที่ช่วยในการเห็นภาพชัดที่สุด ถ้าส่วนนี้มีความเสื่อมลงหรือเสียไป จะทำให้ตามัวและสูญเสียประสิทธิภาพการมองเห็นได้โดยเฉพาะจะมัวมากตรงส่วนกลางของภาพ โรคของแมคคูล่าที่พบได้บ่อย เช่น การเสื่อมของมาคูลาในผู้สูงอายุ มาคูลาบวม รวมถึงการใช้จอประสาทตาหนักมากเกินไปและขาดการดูแล
26 พ.ย. 2563
องค์การอาหารและยา ประเทศอเมริกา หรือ FDA แนะนำว่า การรับประทานในขนาด 2,000 มิลลิกรัมต่อวันมีความปลอดภัย แต่ในขณะที่ องค์กรความปลอดภัยด้านอาหารของยุโรป หรือ EFSA แนะนำว่า การรับประทานในขนาด 5,000 มิลลิกรัมต่อวัน มีความปลอดภัย
26 พ.ย. 2563
ในปัจจุบันการรับประทานโอเมก้า 3 ต่อวันควรทานในปริมาณเท่าไรนั้น ยังไม่มีข้อสรุปหรือการวิจัยไหนรองรับแน่ชัด มีเพียงแต่ผลการศึกษาปริมาณของโอเมก้า 3 กับการทานเพื่อผลต่อทางด้านสุขภาพร่างกาย เช่น การทานเพื่อสมอง คลอเรสเตอรอล หลอดเลือดหัวใจ อัลไซเมอร์ จอประสาทตา
26 พ.ย. 2563
น้ำมันปลาโอเมก้า 3 มีประโยชน์อย่างมากมายในการช่วยการเจริญเติบโตของเด็ก เช่น ช่วยพัฒนาการทำงานของสมองและจิตใจ เพิ่มสมาธิ ความจำระยะสั้นและ ทักษะในการอ่าน นอกเหนือจากนี้ ยังมีคุณสมบัติต้านการอักเสบ ช่วยปกป้องกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กๆ ควรจะได้รับปริมาณโอเมก้า 3 ในระดับสมดุลกับอาหารของพวกเขา
26 พ.ย. 2563
กรดไขมันโอเมก้า-3 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง DHA มีความสำคัญในการพัฒนาและการทำหน้าที่ของระบบประสาท ระบบสายตา และระบบสมอง ของทารกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3 เดือนสุดท้ายก่อนคลอด และในช่วง 6 เดือนแรกหลังจากคลอดแล้ว ดังนั้น มารดาของทารกที่เสริมกรดไขมันโอเมก้า 3 จะเป็นทางเดียวที่จะทำให้ ทารกในครรภ์ได้รับกรดไขมันจำเป็นไปด้วย
26 พ.ย. 2563
น้ำมันปลาถูกนำมาใช้ในการช่วย ลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด โดยที่กรดไขมันโอเมก้า-3 จะเข้าไปอยู่เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ ของเกล็ดเลือดเม็ดเลือดแดง ตับ และอื่นๆ อีก ส่งผลให้การจับตัวของเกล็ดเลือดลดลง พร้อมทั้งมีการสร้างสาร ที่ทำให้หลอดเลือดขยายตัวได้ดี
26 พ.ย. 2563
กรดไขมันโอเมก้า-3 มีบทบาทสำคัญต่อโครงสร้างและการทำงานของสมอง ตับ และระบบประสาทเกี่ยวกับการพัฒนาเรียนรู้ รวมทั้งเกี่ยวกับเรตินาในการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อโภชนาการและสุขภาพของคนเรา
26 พ.ย. 2563
กลุ่มของกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวชนิดหนึ่ง ซึ่งจำเป็นต่อระบบการทำงานต่าง ๆ ภายในร่างกาย ประกอบไปด้วยกรด EPA และ DHA จัดเป็นกรดไขมันจำเป็นที่ร่างกายสร้างเองไม่ได้ ต้องได้รับจากการรับประทานอาหารอื่น ๆ เช่น ปลา น้ำมันพืช ถั่ว เมล็ดพืชต่างๆ ผักใบเขียว รวมถึงการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทดแทน